top of page
Search

การพัฒนาศักยภาพในการนำตนเองเชิงรุก

  • Writer: แจน แจนแจน
    แจน แจนแจน
  • Feb 19, 2021
  • 2 min read

โดย ภก.ดร.จันทรชัย ถวิลพิพัฒน์กุล สถาบันอินทรานส์ Hipot – การปฏิรูปศักยภาพมนุษย์อย่างบูรณาการ ศาสตร์ชีวิตองค์รวมเพื่อความมั่นคงยั่งยืน


ว่าไปแล้วงานในตลาดมีเหลือเฟือ แต่คนตกงานเยอะ เพราะเราไม่ได้ขาดแรงงาน แต่เราขาดคนที่มีคุณภาพ มีศักยภาพต่างหาก และมีผลอย่างยิ่งต่อภาวะการแข่งขันและความยั่งยืนขององค์กรธุรกิจในทุกภาคส่วน รวมทั้งภาวะของเศรษฐกิจของไทยในอนาคต เพราะอะไร1. เด็กไทยเกิดแต่น้อย แต่ยังด้อยคุณภาพ เด็กไทยเกิดลดลงอย่างต่อเนื่อง จากปีละ 800,000 คน เมื่อ 7 ปีที่แล้ว ลงมาเหลือ 550,000 คนต่อปีในปัจจุบัน คือลดลงกว่า 30% และมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง และที่สำคัญคือ ยังด้อยคุณภาพด้วย2. ในทางตรงข้าม คนไทยมีอายุเฉลี่ยสูงขึ้น สัดส่วนประชากรผู้สูงอายุจึงเพิ่มขึ้น อีกทั้งจำนวนคนในวัยแรงงานกำลังถึงจุดสูงสุด และมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง3. คุณภาพการศึกษายังไม่ได้รับการพัฒนา แต่กลับลดต่ำลง คนมีศักยภาพลดลง ใบปริญญาเริ่มหมดความหมาย แต่หน่วยงานกลับให้ความสนใจกับความสามารถและความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง อนาคต สถาบันการศึกษา โรงเรียน จะลดความสำคัญลง4. ความรู้ในปัจจุบันเป็นความรู้ที่พัฒนามาแต่ในอดีต


ปัจจุบันล้าสมัย และส่วนใหญ่ก็ก๊อปปี้เขามา เราจึงต้องพึ่งความรู้ เทคโนโลยีคนอื่น ต้องลอกเลียนแบบคนอื่น เพราะระบบการศึกษาและกระบวนการพัฒนาที่มีอยู่ในบ้านเราไม่ได้สอนให้คิด แต่ส่วนใหญ่สอนให้จำ บุคลากรส่วนใหญ่จึงคิดเองไม่ได้ คิดไม่เป็น จึงแก้ปัญหาไม่เป็นระบบ โดยเฉพาะปัญหาเชิงซ้อน อีกทั้ง ไม่ได้ฝึกการคิดเชิงองค์รวม จึงขาดการพัฒนาเชิงสร้างสรรค์ จึงขาดนวัตกรรมที่แตกต่าง ที่แปลกใหม่ ที่เป็นของตนเอง5. ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เอไอ ที่เติบโตในอัตราเร่ง และมันจะมาแทนที่คนในอนาคตอย่างแน่นอน เพราะมันมีประสิทธิภาพสูงกว่า เร็วกว่า ถูกกว่า และแน่นอนด้วยทั้งหมดนี้ เป็นตัวเร่งให้ปัญหาทรัพยากรบุคคลในไทยกำลังถึงจุดวิกฤติและถดถอย ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ และมีผลกระทบต่อความอยู่รอดขององค์กรทั้งภาครัฐ คาสิโนออนไลน์ แทงเสีย ภาคเอกชน รวมทั้งเศรษฐกิจไทยอย่างรุนแรงในอนาคตที่ผ่านมากว่า 20 ปี เศรษฐกิจไทยยังพอไปได้ มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง นั่นเป็นเพราะเรามาจากฐานที่ต่ำ แต่เมื่อจุดๆ หนึ่ง มันตัน ไปต่อไม่ไหว เพราะขาดองค์ความรู้และศักยภาพที่จะพัฒนาตนเอง ทั้งนี้ เราต่างตระหนักดีว่า เราต้องปรับตัว องค์กรส่วนใหญ่ก็กำลังพยายามอยู่ แต่ก็ยังหลงทาง หรือที่พอจะทำได้บ้าง แต่ก็ไม่เต็มที่ องค์กรต่างๆ จึงเหมือน “ติดกับดัก” บนฐานของศักยภาพที่ตีบตัน จึงเป็นหน่วยงานในลักษณะแบบกลางๆ ไม่สามารถก้าวข้ามพ้นขีดจำกัดของตนเองได้ จึงไปต่อไม่ไหว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การระบาดอย่างไม่คาดคิดของไวรัสโควิด 19 สร้างผลกระทบอย่างรุนแรงและเป็นวงกว้าง แล้วเราจะรับมือกับความท้าทายที่สำคัญนี้อย่างไร เรารู้ว่าจะต้องพัฒนาศักยภาพ แต่จะพัฒนาอะไร อย่างไร จึงจะยกระดับความสามารถในการแข่งขันเชิงรุก เพื่อความอยู่รอดได้อย่างยั่งยืน หนึ่งในคำตอบคือ การพัฒนาศักยภาพในการนำตนเองเชิงรุกการพัฒนาศักยภาพในการนำตนเองเชิงรุกก่อนอื่นเราต้องเข้าใจก่อนว่า ไม่ว่าในสถานการณ์ใดๆ เรามีสิทธิ์ที่จะเลือกตอบสนอง นั่นคือ ไม่ว่าจะเกิดอะไรขึ้น เรามีสิทธิ์ที่จะเลือกว่าเราจะโต้ตอบอย่างไร เพราะการตอบสนองใดๆ มันล้วนมาจากกรอบความคิดตนเอง กรอบความคิดเปลี่ยนได้ และตนมีอำนาจเหนือมัน ดังนั้น การตอบสนองใดๆ ในรูปของพฤติกรรม มันจึงมาจากการเลือกของตนเองทั้งสิ้น (ถึงแม้เลือกที่จะไม่ทำอะไร ก็ถือเป็นการเลือกอย่างหนึ่ง)ความสามารถในการเลือกนี้เองคือ อำนาจ อำนาจดังกล่าวคือ ความเป็นอิสระ คืออิสระจากแรงกดดันภายนอก อิสระจากข้อจำกัดภายนอก บุคคลประเภทนี้จะไม่บ่น จะไม่โวยวาย ไม่ตีโพยตีพาย ไม่โทษโน่นนี่นั่น หรือโทษใคร หรืออ้างเหตุภายนอกว่าเป็นสาเหตุ นั่นคือ เขาจะไม่เอาข้อจำกัดภายนอกมากำหนดชะตาชีวิตตนเอง เพราะถ้าทำอย่างนั้น นั่นเท่ากับว่า ตนกำลังพาเอาตนเองเข้าไปอยู่ภายใต้เงื่อนไขบางอย่างที่อยู่นอกเหนือการควบคุม ซึ่งสะท้อนถึงความอ่อนแอ ความอ่อนด้อย ความไร้สมรรถภาพ แต่จะตระหนักว่า ตนอยู่เหนือสถานการณ์นั้นๆ เพราะเรามีอำนาจเหนือมัน ตนจึงไม่กวัดแก่วงไปตามกระแส จะไม่ยอมให้มันมามีอิทธิพลเหนือตนเอง แต่จะดูว่าตนมีทางเลือกอะไรบ้างที่พอจะทำได้ในสถานการณ์ดังกล่าว และไม่ว่าจะเกิดผลอะไรที่ตามมา ตนก็พร้อมที่จะรับผิดชอบภาวะนี้เองคือ ศักยภาพสูงสุด มันคือ ความสามารถในการนำตนเอง เพราะนำตนเองได้ จึงปรับตัวได้ และด้วยสามารถในการคาดการณ์ได้ล่วงหน้า ตนจึงสามารถสร้างทางเลือกได้หลากหลาย เพื่อรองรับสิ่งที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ความสามารถในการปรับตัวได้อย่างยืดหยุ่นล่วงหน้านี้เอง บุคคลจึงเล่นเชิงรุกได้การเล่นเชิงรุกจึงมิได้มีความหมายเพียงแค่ว่าคิดไปได้ไกล คิดไปข้างหน้า



หรือขยัน เอางานที่จะถึงกำหนดในวันข้างหน้ามาทำวันนี้เท่านั้น แต่มันคือการตระหนักถึงศักยภาพภายในที่ตนมี รู้ว่าตนมีอำนาจในการเลือกว่าจะตอบสนองต่อสถานการณ์ข้างหน้านั้นๆ อย่างไร และใช้ให้เป็น เพื่อรับมือกับปัญหา แก้ปัญหาได้อย่างทันการณ์ และด้วยทัศนคติที่ถูกต้อง หากว่าผลที่ออกมาไม่เป็นไปตามที่คาด ตนก็รู้ว่ามันพลาดที่ตรงไหน โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องมองว่านั่นคือ กระบวนการเรียนรู้ แล้วจะหาทางปรับแก้ไขอย่างไร เพื่อทางออกที่ดีกว่าดังนั้น ไม่ว่าในสถานการณ์ใดๆ ด้วยข้อจำกัดอย่างไรก็ตาม ขอให้เข้าใจว่า ตนมีศักยภาพในการนำตนเอง นั่นคือ เรามีอำนาจในการเลือกที่จะเล่นเชิงรุก เล่นเชิงบวกได้

'น้ำเต้าหู้' ช่วยลดความอ้วนได้จริงหรือไม่?

เมนูซื้อง่ายขายคล่อง “น้ำเต้าหู้” กินในปริมาณเท่าไหร่จึงส่งผลดีต่อสุขภาพ และเครื่องดื่มนี้จะช่วยลดความอ้วน ลดไขมัน ดีต่อระดับน้ำตาลในเลือด ระดับอินซูลินในเลือด และการย่อยอาหาร จริงหรือ!!ไม่ว่าจะเดินตลาดยามเช้า หรือซื้อกับข้าวยามเย็น หนึ่งในร้านที่ต้องพบเห็นคือ “ร้านขายน้ำเต้าหู้” ซึ่งเราต่างกันดีว่าอุดมด้วยสารอาหารที่มีประโยชน์มากมาย แถมยังดีต่อสุขภาพด้วย ไม่ว่าจะเป็นคารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ และวิตามิน แถมยังมีไฟเบอร์ หรือใยอาหารซึ่งช่วยระบบขับถ่ายในลำไส้ ช่วยดูดซับสารพิษ และช่วยลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดได้ดีกว่าเนื้อสัตว์ในส่วนปลีกย่อยของวิตามินและแร่ธาตุ ในน้ำเต้าหู้ยังมีวิตามินบี 6 ที่ช่วยการทำงานของสมอง สร้างระบบภูมิต้านทานของร่างกาย วิตามินอี และกรดไขมันจำเป็นอื่นๆ ที่ช่วยบำรุงผิวพรรณให้สดใส มีธาตุเหล็กที่เสริมสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง รวมทั้ง เลซิธิน (Lecithin)


สารประกอบของฟอสฟอรัสกับไขมัน ที่ช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดแข็งตัว โรคหัวใจ และช่วยบำรุงสมองด้วยนอกจากนั้นแล้ว ยังพบสารที่มีฤทธิ์เหมือนฮอร์โมนเพศหญิงที่ชื่อ ซอยไอโซฟลาโวนส์ (Soy Isoflavones) ซึ่งช่วยป้องกันและลดความรุนแรงของโรคกระดูกพรุน ลดอัตราเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจ โรคมะเร็ง รวมถึงลดอาการบางอย่างอันเนื่องมาจากฮอร์โมนขาดหายหรือผิดปกติ เช่น ความรู้สึกไม่สบายตัว และอาการหงุดหงิดของผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนอีกด้วยข้อดีอีกประการของน้ำเต้าหู้ คือเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนัก โดยที่ยังสามารถรับสารอาหารได้อย่างครบถ้วน ทั้งนี้ พลังงานที่ได้จากนมวัวมีมากถึง 170 กิโลแคลอรี่ ASIAX8 แต่นมถั่วเหลืองจะได้รับเพียง 80 กิโลแคลอรี่ แต่อย่างไรก็ตาม การรับประทานเพียงแต่น้ำเต้าหู้อาจจะไม่ได้รับสารอาหารอย่างเต็มที่โดยเฉพาะแคลเซียม เพราะแคลเซียมในน้ำเต้าหู้นั้นมีน้อยกว่านมวัวมาก จึงควรจะรับประทานกับอาหารที่เสริมกันอย่างผักคะน้า หรือทานน้ำเต้าหู้ที่เสริมด้วยแปะก๊วย ลูกเดือย ถั่วแดง เพื่อให้ได้รสชาติที่อร่อยและยังเพิ่มคุณค่าสารอาหารให้ครบถ้วนมากยิ่งขึ้นมีงานวิจัยที่ทดลองประสิทธิผลของนมวัว นมถั่วเหลืองปรุงแต่ง และอาหารเสริมแคลเซียมที่มีผลต่อการลดไขมันในผู้หญิงก่อนวัยทองที่มีภาวะอ้วนและภาวะน้ำหนักเกิน พบว่า การบริโภคนมไขมันต่ำอย่างนมถั่วเหลืองปรุงแต่ง ช่วยลดภาวะอ้วนและภาวะอ้วนลงพุงในกลุ่มตัวอย่างทดลองได้อย่างมีนัยสำคัญอีกหนึ่งการทดลองได้เปรียบเทียบประสิทธิผลของน้ำเต้าหู้ กับนมวัวขาดมันเนย กับระดับไขมันในเลือด และการทำปฏิกิริยากับผนังเซลล์ไขมัน (Lipid Peroxidation) ในผู้ป่วยที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง ผลลัพธ์ที่ได้ชี้ว่าน้ำเต้าหู้มีส่วนช่วยในการลดระดับไขมันในเลือดและลดการเกิดปฏิกิริยาที่สารอนุมูลอิสระทำปฏิกิริยากับกรดไขมันไม่อิ่มตัวในผนังเซลล์ ซึ่งเป็นผลดีต่อผู้ป่วยภาวะไขมันในเลือดสูงส่วนการทดลองเพื่อหาประสิทธิผลในการลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกายด้วยเครื่องดื่มที่ทำมาจากถั่วเหลือง โดยทำการทดลองในกลุ่มตัวอย่างชาวฝรั่งเศสที่มีระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสูงในกลุ่มความเสี่ยงระดับปานกลาง ผลที่ได้คือ การบริโภคเครื่องดื่มจากถั่วเหลืองที่มีสารแพลนท์ สเตอรอล (Plant Sterol) ช่วยลดระดับไขมันคอเลสเตอรอลชนิดเลว (non-HDL และ LDL) ลงอย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า น้ำเต้าหู้อาจช่วยควบคุมและลดระดับไขมันในผู้ป่วยที่มีคอเลสเตอรอลในเลือดสูงที่อยู่ในกลุ่มผู้มีความเสี่ยงเล็กน้อยไปจนถึงปานกลางจากการค้นคว้าหาประสิทธิผลของการบริโภคผลิตภัณฑ์นมและนมถั่วเหลืองเป็นประจำทุกวันทั้งก่อนมื้ออาหาร 30 นาที และพร้อมมื้ออาหารในกลุ่มทดลองเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพดี



เพื่อศึกษาหาอิทธิพลต่อระบบย่อยอาหาร ระดับน้ำตาลและสารอินซูลินในเลือด พบว่า การดื่มนม ทั้งนมถั่วเหลืองและนมวัวก่อนมื้ออาหาร 30 นาที จะช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือดหลังมื้ออาหารได้มากกว่าการดื่มพร้อมมื้ออาหาร ซึ่งวิธีการนี้อาจเป็นประโยชน์สำหรับผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานจากการบริโภคอาหารที่มีค่า GI สูง (Glycemic Index: ค่าดัชนีน้ำตาล) ซึ่งยังต้องค้นคว้าทดลองในด้านนี้ต่อไป เพื่อให้ได้ข้อมูลที่แน่ชัดและเป็นประโยชน์ในอนาคตแม้การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของถั่วเหลือง หรือมีโปรตีนจากถั่วเหลือง รวมถึงน้ำเต้าหู้ในปริมาณที่เหมาะสมจะไม่ก่อให้เกิดอันตราย แต่ผู้บริโภคควรศึกษาปัจจัยทางสุขภาพของตนให้ดีก่อนว่าควรดื่มน้ำเต้าหู้หรือไม่ และควรดื่มในปริมาณมากน้อยเพียงใด อาหารที่ทำจากถั่วเหลืองแต่ละชนิดล้วนมีโปรตีนและสารอาหารจากถั่วเหลืองในปริมาณที่แตกต่างกันไป เช่น ในน้ำเต้าหู้ 1 แก้ว อาจมีสารไอโซฟลาโวนประมาณ 30 มิลลิกรัม อย่างไรก็ตาม ผู้บริโภคควรเลือกรับประทานอาหารและเครื่องดื่มอย่างหลากหลาย เพื่อให้รับสารอาหารที่จะส่งเสริมสุขภาพได้อย่างครบถ้วน

 
 
 

Comments


Post: Blog2_Post
  • Facebook
  • Twitter
  • LinkedIn

©2021 by sak1111jan. Proudly created with Wix.com

bottom of page