top of page
Search

เมื่อโฆษณาและหุ่นยนต์มาบรรจบกัน กลายเป็นสื่อโฆษณาอัจฉริยะ ยุค5G

  • Writer: แจน แจนแจน
    แจน แจนแจน
  • Jan 13, 2021
  • 2 min read

สื่อโฆษณาอัจฉริยะ ยุค5G

บริษัท โอโบดรอยด์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (Obodriod) เป็นสตาร์ทอัพไทย ที่ทุ่มเทพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางด้าน Robot เพื่อนำมาใช้ในหลายประเภทงาน อาทิ งานรักษาความปลอดภัย, งานพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมทั้งการออกแบบระบบเทคโนโลยีบ้านอัจฉริยะ Home Intelligent System ล่าสุด กับการผนวกเทคโนโลยีด้านการเผยแพร่สื่อโฆษณาเคลื่อนที่ เพื่อใช้ในงาน Miss Universe Thailand 2020 ที่ผ่านมา ในชื่อของ “Penguinn Advertisement Robot powered by true 5G” ความพิเศษของหุ่นตัวนี้ถือ เป็น Use case รายแรกของประเทศไทยที่ใช้ 5G SA หุ่นยนต์โฆษณาอัจฉริยะนำมาเชื่อมต่อ เครือข่าย TRUE 5G บนเทคโนโลยี 5G SA (Stand-alone) รวมทั้งเชื่อมต่อเข้ากับ private cloud ของ TRUE IDC สามารถดึงข้อมูลที่ได้ผ่านกล้องของหุ่นยนต์เข้าสู่ระบบประมวลผล ทำให้วิเคราะห์ภาพออกมาและเลือกสื่อโฆษณามานำเสนอได้อย่างตรงกับเป้าหมายทั้งนี้ หุ่นยนต์โฆษณาอัจฉริยะ เป็นสื่อดิจิตอลรูปแบบใหม่ คาสิโนออนไลน์ ฟรีเครดิต มาพร้อมจอดิจิตอลความละเอียดสูงทั้ง 2 ด้าน สามารถแสดงภาพ และ หรือ วีดีโอดิจิตอล แม้กระทั่งการรับสัญญาณถ่ายทอดสด หุ่นยนต์มาพร้อมด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence, AI) ประมวลผลการแสดงสื่อหน้าจอ โดยใช้สถิติต่างๆที่ผู้รับชม ณ ขณะนั้นน่าจะสนใจ เช่น เพศ, ช่วงอายุโดยประมาณ, จำนวนผู้ชม เป็นต้น เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถแสดงข้อมูลได้ใกล้เคียงความต้องการของผู้ชมมากที่สุด


นอกจากนี้ ยังมีระบบเคลื่อนที่อัตโนมัติ (Auto-Navigation) สามารถเคลื่อนที่ได้อัตโนมัติตามเส้นทางที่กำหนดไว้ล่วงหน้า สามารถแสดงภาพหรือวีดีโอได้ในขณะเคลื่อนที่ เพื่อช่วยให้ข้อมูลข่าวสาร โปรโมชั่นต่างๆ หรือ ดึงดูดความสนใจของลูกค้าได้ตลอดเวลาทำการ มาพร้อมกับแพลตฟอร์มเพื่อให้ผู้ประกอบการปรับเปลี่ยน สื่อ ได้แบบ realtime เป็นสื่อ visibility แห่งอนาคตในยุค 5G เพื่อช่วยขับเคลื่อนธุรกิจ

 

อย่าทำแบบนี้! ถ้าไม่อยากโดนตัดสิทธิ์คนละครึ่ง

คนละครึ่งของรัฐบาลเป็นโครงการที่มีประโยชน์ ขอแสดงความยินดีกับคนที่ได้รับสิทธิ์ทั้งเฟสแรก และเฟส 2 ที่จะได้เริ่มใช้สิทธิ์ในวันที่ 1 มกราคม 2564 นี้ ที่จะมีนักช้อปผ่านแอปพลิเคชัน เป๋าตังค์ มือใหม่อีก 5 ล้านคน พร้อมระบบตรวจสอบที่เข้มข้นกว่าเดิมเพื่อป้องกันการทุจริต และทำการตัดสิทธิ์ทั้งฝั่งลูกค้า และเจ้าของร้านไปบางส่วน ตามข่าวที่เราได้ทราบกัน เราจะมาดูว่ามีอะไรบ้างที่เราต้องระวัง เพื่อไม่ให้ผิดกฎใช้งานโดยไม่ตั้งใจ ทำให้ต้องเสียสิทธิ์ไปโดยปริยาย แถมอาจต้องถูกดำเนินคดีทางกฎหมาย ซึ่งคงไม่มีใครอยากโดนกันแน่นอน มีอะไรบ้างไปชมกันเลยครับ

1. จ่ายเงินกินส่วนต่างรัฐบาลจากร้านค้า ตัวอย่างเช่นตกลงกับร้านค้าว่าจะจ่ายเงิน 150 บาท เดี๋ยวเจ้าของร้านจ่ายคืนมาให้ 225 บาท ส่วนต่างจากรัฐบาลที่จะสมทบให้ 150 บาทเอามาแบ่งกันสินค้าไม่เอา ดูเหมือนมันไม่น่าจะมีใครรู้ แต่ยอดการซื้อ-ขายที่แตกต่างกันมากในแต่ละวัน จะถูกประเมินโดย AI ของระบบตรวจจับ ถึงความผิดปกติยอดขายที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยจนผิดสังเกต จนถึงตรวจสอบในภาคสนามว่า ปริมาณสินค้าไม่สัมพันธ์กับยอดขาย จะโดนระงับการใช้งานถอดสิทธิ์ทั้ง 2 ฝั่ง เสียสิทธิ์จากการผิดข้อตกลงข้อที่ 1.4.2 ที่ระบุว่า ต้องมีการซื้อขายสินค้ากันจริง

2. จ่ายแบบสะสมยอด ของราคา 6 พันบาท เจรจากับร้านขอยิงจ่าย 150 บาทเป็นเวลา 20 วันจนครบ 3,000 บาท ร้านค้าได้จากรัฐบาลอีก 3,000 บาทครบ 6,000 บาทพอดี! หลายคนเข้าใจว่าไม่น่าผิดอะไร แต่กรณีนี้อยู่ในฐานความผิดใช้จ่ายผิดวัตถุประสงค์ที่อยู่ในเงื่อนไขข้อตกลง ใช้จ่ายวันต่อวัน ไม่สามารถตัดยอดและสะสมยอดได้ นอกจากถูกตัดสิทธิ์แล้วยังเสี่ยงกับการถูกดำเนินคดีเพิ่มเติม ในฐานความผิดร่วมกันฉ้อโกงรัฐ เป็นการเสี่ยงที่ไม่คุ้มเลย

3. จ่ายเงินไม่ตรงกับร้านที่ลงทะเบียน เจ้าของร้านขายข้าวแกง มีกิจการร้านนวดอยู่แถวนั้นด้วย ชั่วโมงละ 200 บาท เจ้าของร้านบอกเอาอย่างนี้สิ มายิงจ่ายร้านข้าวแกงเจ๊ 100 บาท แล้วไปนวดอีกร้านเดี๋ยวโทรบอกเด็กให้ว่าจ่ายแล้ว แหม! ดูเผิน ๆ มันเนียนมาก แต่พฤติกรรมนี้ผิดข้อตกลงที่ 1.4.3 ที่รัฐช่วยจ่ายค่าสินค้า, เครื่องดื่ม หรืออาหาร ไม่รวมสลากกินแบ่ง, เครื่องดื่มแอลกอฮอล์, บุหรี่ยาสูบ และบริการต่าง ๆ ถ้าร้านยื่นข้อเสนอให้เราดู จะไม่น่าเสี่ยงเท่าไหร่ ASIAX เพราะถ้าพลาดต้องถูกระงับการใช้งานทันที 4. ให้คนทั้งบ้านช่วยกันซื้อของ มีกิจการขายของกินอยู่แล้วรับสิทธิ์ร้านค้าผ่านฉลุย ทั้งบ้านอยู่กัน 6 คน มือถือคนละเครื่องสมัครมาสแกน QR Code กันทุกวัน สินค้าไม่ต้องเอา ได้กินเปล่าฟรี ๆ วันละ 900 บาท ถึงแม้ทั้ง 6 คนนั้นจะไม่มีความเกี่ยวข้องเป็นญาติพี่น้องกันเลย แล้ว AI รู้ได้อย่างไร? แอปพลิเคชันเป๋าตังค์จะมีการระบุตำแหน่ง GPS นอกจากผู้ซื้อ-ผู้ขายต้องอยู่ตำแหน่งเดียวกัน ยังฉลาดถึงขั้นวิเคราะห์ได้ว่า 6 คนนี้มีความเป็นไปได้ว่า อาศัยอยู่ที่เดียวกัน ไม่มีทางที่ลูกค้าจะยืนอยู่ที่ร้านทั้งวันทั้งคืน โป๊ะแตกเอาง่าย ๆ เลยหล่ะครับ

5. ยกสิทธิ์ให้คนอื่นใช้ ที่บ้านสมัครกันได้ตั้ง 3 คน แล้วขายถูก ๆ 500 บาท แบ่งสักอันให้เพื่อนที่ออฟฟิศใช้จะเป็นไรไปแค่บอก OTP ลงเครื่องเพื่อน ที่เหลือเติมเงินเอาเองไม่น่ามีปัญหาแค่เอาไปซื้อของ แต่กรณีนี้ผิดแบบเต็ม ๆ เพราะโครงการคนละครึ่งระบุในข้อตกลงแบบชัดเจน ให้สิทธิ์กับผู้ที่ลงทะเบียนได้ การสวมสิทธิ์จะถูกจับได้แบบง่าย ๆ เมื่อใช้งานไปสักระยะ ระบบตรวจพบว่าข้อมูลไม่ตรงกับผู้จดทะเบียนซิมการ์ดที่ใช้งานเครื่องนั้น อาจเริ่มจากการให้ระบุตัวตนใหม่ที่สร้างความปวดหัว จนถึงถอดสิทธิ์ในที่สุดหากพยายามฝืนใช้งานในอีกชื่อ


6. จ่าย 150 บาท ได้เงินคืน + หยิบของฟรี! อย่าเผลอไปหลงการทุจริตที่เงื่อนไขแสนเย้ายวน ของร้านค้าประเภทนี้ พฤติกรรมคือคืนเงินให้เราเป็นเงินสด 150 บาท พร้อมข้อเสนอให้หยิบสินค้าในร้านที่ราคา 50-60 บาทไปฟรี 1 ชิ้น หักส่วนต่างที่รัฐจ่ายสมทบร้านยังได้กำไร ซึ่งไม่รอดหูรอดตาระบบ นอกจากโดนตัดสิทธิ์ยังถือได้ว่าร่วมมือกันฉ้อโกงรัฐ โทษหนักนะอย่าไปยุ่งเชียว 7. ใช้โปรแกรมหลอกตำแหน่งพิกัด ปัจจุบันมีโปรแกรมใต้ดินที่สามารถป้อนตำแหน่งพิกัด GPS แบบปลอม ๆ ให้เครื่องหลงว่ากำลังอยู่ในพิกัดนั้น หลายคนหัวใสจะเอาเงินไปให้ร้านค้าคนใกล้ชิดที่อยู่ต่างจังหวัด แค่แคป QR Code ส่งมาแล้วสแกนจ่ายเงินไป ถือได้ว่าพลาดอย่างแรง สามารถจ่ายเงินได้ก็จริง แต่ตำแหน่งของคุณยังคาอยู่ที่ร้านนั้นทั้งวันทั้งคืน หรือกดปิดโปรแกรมปลอมตำแหน่ง พิกัดคุณก็จะเด้งกลับมาตำแหน่งปัจจุบัน เป็นธุรกรรมที่จับได้แบบง่าย ๆ ว่าตัวผู้ใช้กับร้านค้า อยู่กันข้ามจังหวัด อย่าพยายามหามาลง ตัวอย่างการจับกุมล็อตแรกมีให้เห็นเพียบ ไม่คุ้มเลย ข้อตกลงแบบละเอียดฉบับเต็มอยู่ในหน้าที่เรากดสมัครตอนแรก ที่เชื่อได้ว่าแต่ละคนไม่มีเวลาได้อ่าน เพราะตอนสมัครต้องแข่งกันด้วยความไว สามารถไปทำความเข้าใจอีกครั้งได้ที่register.คนละครึ่ง.com แต่การใช้งานแบบปกติที่ไม่มีเจตนาทุจริตนี่แหละ คือสิ่งที่เราจะได้รับประโยชน์สูงสุดจากโครงการคนละครึ่ง ยินดีกับผู้ที่ได้สิทธิ์ใหม่ 5 ล้านคน และดีใจกับผู้ที่ได้สิทธิ์ตั้งแต่เฟสแรก ที่จะได้ใช้งานต่อในเฟส 2 เรียกได้ว่างานนี้คุ้มกันจริง ๆ ครับ..

 
 
 

Comments


Post: Blog2_Post
  • Facebook
  • Twitter
  • LinkedIn

©2021 by sak1111jan. Proudly created with Wix.com

bottom of page